 |
รูปตัวต้านทานที่นิยมใช้ทั้วไป
แบบค่าคงที่ ปรับค่าได้
และแบบพิเศษอื่นๆ
|
 |
|
 |
ตัวต้านทาน (Resistor)
หรือที่เรา
มักเรียนว่า ตัว R นั้น ทำหน้น
ทำหน้าที่ต้านการไหลของ
กระแสไฟฟ้า หรือ ควบคุมไม่ให้
กระแสไฟฟ้าไหลมากเกิน มีหลาย
รูปแบบในการใช้งาน
|
 |
|
 |
ตัวอย่างวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ที่มีต้วต้านทานเป็นส่วนประกอบ
|
 |
|
 |
ขนาด W ของตัวต้านทานแบบ
ต่างๆ
|
 |
|
 |
การอ่านค่าตัวต้านทานนั้น
ถ้าเป็น W สูง โดยมากผู้ผลิต
จะเขียนลงบน ตัวต้านทานเลย
ถ้าเป็น 1/8W 1/4W -- 2W
จะต้องอ่านโดยอาศัยแถบสี
บนตัวมัน
|
 |
|
 |
แถบสีบนตัว R จะมี 4 แถบสี
(ผิดพลด 5%)
และ มี 5 แถบสี
(ผิดพลาด 1%)
|
 |
|

ตารางเทียบสีตัวต้านทาน
|
 |
|
 |
ตัวอย่างการอ่านค่า
สีที่ 1 ต่อ กับ สี่ที่ 2 แล้ว X สีที่ 3
ได้ 15X1000 = 15000 โอห์ม
หรือ 15K ( K = 1000)
แถบสีที่ 4 ส่วนมากจะเป็นสีทอง
บอกให้รู้ถึงค่าผิดพลาด 5%
|
 |
|
 |
ได้ 18X10000 = 180000 โอห์ม
หรือ 180ษ ( K = 1000) |
 |
|

|
ตัวอย่างอื่นๆ |
 |
|
 |
แบบ 5 แถบสี จะใช้วิธีเดียวกัน
แต่ 3 หลักแรก นำมาต่อกัน
แล้ว X ด้วยหลักที่ 4
แถบสีที่ 5 สีน้ำตาล
บอกให้รู้ถึงค่าผิดพลาด 1% |
 |
|
 |
|
|
|